เกี่ยวกับโรงเรียน

 

ที่ตั้งสถานศึกษา
ที่ตั้งโรงเรียนบ้านบัวราษฎร์บำรุง ตั้งอยู่เลขที่ 194 หมู่ที่ 3ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร 47130
โทรศัพท์ 0-4297-3009 โทรสาร 0-4297-3086
E-mail banbuaschool2021@gmail.com เว็บไซต์ www.bbr.ac.th

การเรียนการสอน
เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จนถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

ตราประจำโรงเรียน

สัญลักษณ์ รูปดอกบัว (งามอย่างมีคุณค่า)
สีประจำโรงเรียน ขาว – เขียว
อักษรย่อโรงเรียน บ.ร.
ปรัชญา สุวิชาโน ภวํ โหติ (ผู้รู้ดี คือ ผู้เจริญ)
คำขวัญ ความรู้ดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำสังคม

 

ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ

 แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

กลยุทธ์ที่ ๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ

กลยุทธ์ที่ ๒ เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน

กลยุทธ์ที่ ๓ ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑

กลยุทธ์ที่ ๔ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา

แผนพัฒนาการศึกษา ๕ ปี สพม.สกลนคร (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

กลยุทธ์ที่ ๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบอย่างมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ์ที่ ๒ เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึง

กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

กลยุทธ์ที่ ๔ ยกระดับการบริหารการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างยั่งยืน

 

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านบัวราษฎร์บำรุง (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะชีวิตและเสริมสร้างสมรรถนะสู่สากล

กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ 

กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มืออาชีพ

กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนบ้านบัวราษฎร์บำรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๗

ประเด็น

รายละเอียด

วิสัยทัศน์

ภายในปีการศึกษา ๒๕๗๐ เป็นโรงเรียนที่มีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ผู้เรียนมีความรู้
มีทักษะชีวิต ควบคู่คุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ

๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการเรียนการสอนให้มีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล

ตามหลักพหุปัญญาและศักยภาพของผู้เรียน

๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิต มีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพทันต่อการเปลี่ยนแปลง

ของสังคมโลกตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๔. พัฒนาครูให้มีสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูและก้าวสู่ความเป็นครูมืออาชีพ

๕. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาตามระบบคุณภาพ

๖. พัฒนาการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย

เป้าประสงค์

๑. สถานศึกษามีหลักสูตรสู่ความเป็นสากลที่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบนพื้นฐานความแตกต่าง

และศักยภาพของผู้เรียน

๒. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ พัฒนาตนเต็มศักยภาพ สามารถศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้

และดำรงชีวิตบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓. ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า

และร่วมสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๔. ครูมีสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูและเป็นครูมืออาชีพ

๕. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ

๖. สถานศึกษามีการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่ายทางการศึกษา

ค่านิยม

LOTUS Model

L : Learning         หมายถึง  ใฝ่การเรียนรู้

O : Opportunity   หมายถึง  ให้โอกาส

T : Technology    หมายถึง  ใช้เทคโนโลยี

U : Unity            หมายถึง  ใจรวมเป็นหนึ่ง

S : Success         หมายถึง  ได้ความสำเร็จ

วัฒนธรรมองค์กร

มุ่งมั่นทำงาน ประสานสัมพันธ์ สู่ความสำเร็จ

 

 

สมรรถนะหลัก

๑. ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร

๒. ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๓. ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน

๔. ความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษา

๕. ความสามารถในการประสานการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายทางการศึกษา

 

ตารางเปรียบเทียบการประกันคุณภาพภายในกับการประกันคุณภาพภายนอก

ประเด็น

สมศ.รอบสี่ (พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓)

ประกันคุณภาพภายใน

สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)

มฐ./ตช.

๓ มาตรฐาน ๒๑ ข้อย่อย

๓ มาตรฐาน ๒๑ ข้อย่อย

๓ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชี้วัด

ระดับคุณภาพ

/ระดับการประเมิน

๕ ระดับ ได้แก่ ดีเยี่ยม ดีมาก

ดี พอใช้ ปรับปรุง

๕ ระดับ ได้แก่ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ

ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา

๒ ระดับ ได้แก่

เป็นไปตามมาตรฐาน (๓-๕)

อยู่ระหว่างการพัฒนา (๑-๒)

 

ประกันคุณภาพภายใน

สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)

๓ มาตรฐาน ๒๑ ข้อย่อย

๓ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชี้วัด

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน (๒ ข้อใหญ่ ๑๐ ข้อย่อย)

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

๑.๑.๑ มีความสามารถในการอ่าน การเขียน

การสื่อสาร และการคิดคำนวณ

๑.๑.๒ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์

คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

และแก้ปัญหา

๑.๑.๓ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

๑.๑.๔ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๑.๑.๕ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

๑.๑.๖ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดี

ต่องานอาชีพ

 

 

มาตรฐานที่ ๑ ผลลัพธ์ของการเรียนรู้  (๓ ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสมรรถนะตามหลักสูตรสถานศึกษา

ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ผู้เรียนสามารถนำตนเองในการเรียนรู้

ประกันคุณภาพภายใน

สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)

๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

๑.๒.๑ การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

๑.๒.๒ ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

๑.๒.๓ การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

๑.๒.๔ สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา

 

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

(๖ ข้อย่อย)

๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย

มาตรฐานที่ ๒ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

                  สถานศึกษา (๑๐ ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัดที่ ๒.๑ วิสัยทัศน์  พันธกิจ และค่านิยมของสถานศึกษา

ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์และแผนงานสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ

ตัวชี้วัดที่ ๒.๓ ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำทางวิชาการ
และบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

 

ตัวชี้วัดที่ ๒.๔ แผนงานและการดำเนินงานด้านการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา

ตัวชี้วัดที่ ๒.๕ กระบวนการนิเทศการปฏิบัติงานของครู

และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ

การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

ตัวชี้วัดที่ ๒.๗ การจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ปลอดภัย
และถูกสุขลักษณะ

ตัวชี้วัดที่ ๒.๘ สวัสดิการ สวัสดิภาพ แนวทางการป้องกันโรค อุบัติภัย ภัยพิบัติ

ตัวชี้วัดที่ ๒.๙ ระบบและกระบวนการช่วยเหลือผู้เรียน

ตัวชี้วัดที่ ๒.๑๐ การเสริมสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง องค์กร และชุมชน เพื่อความร่วมมือในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
และพัฒนาผู้เรียน

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

ตัวชี้วัดที่ ๒.๖ การใช้สื่อ อุปกรณ์ ระบบเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษา

 

 

ประกันคุณภาพภายใน

สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (๕ ข้อย่อย)

๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้

๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

มาตรฐานที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ (๓ ตัวชี้วัด)

 

ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ การออกแบบหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้
ที่เสริมสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ตัวชี้วัดที่ ๓.๒ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

 

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ครูวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง