ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
กลยุทธ์ที่ ๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
กลยุทธ์ที่ ๒ เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
กลยุทธ์ที่ ๓ ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
กลยุทธ์ที่ ๔ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
แผนพัฒนาการศึกษา ๕ ปี สพม.สกลนคร (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
กลยุทธ์ที่ ๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบอย่างมีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์ที่ ๒ เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึง
กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
กลยุทธ์ที่ ๔ ยกระดับการบริหารการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างยั่งยืน
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านบัวราษฎร์บำรุง (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะชีวิตและเสริมสร้างสมรรถนะสู่สากล
กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มืออาชีพ
กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนบ้านบัวราษฎร์บำรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๗
ประเด็น
|
รายละเอียด
|
วิสัยทัศน์
|
ภายในปีการศึกษา ๒๕๗๐ เป็นโรงเรียนที่มีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะชีวิต ควบคู่คุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
พันธกิจ
|
๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการเรียนการสอนให้มีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล
ตามหลักพหุปัญญาและศักยภาพของผู้เรียน
๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิต มีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลกตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น
๔. พัฒนาครูให้มีสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูและก้าวสู่ความเป็นครูมืออาชีพ
๕. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาตามระบบคุณภาพ
๖. พัฒนาการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย
|
เป้าประสงค์
|
๑. สถานศึกษามีหลักสูตรสู่ความเป็นสากลที่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบนพื้นฐานความแตกต่าง
และศักยภาพของผู้เรียน
๒. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ พัฒนาตนเต็มศักยภาพ สามารถศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้
และดำรงชีวิตบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า
และร่วมสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น
๔. ครูมีสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูและเป็นครูมืออาชีพ
๕. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
๖. สถานศึกษามีการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่ายทางการศึกษา
|
ค่านิยม
|
LOTUS Model
L : Learning หมายถึง ใฝ่การเรียนรู้
O : Opportunity หมายถึง ให้โอกาส
T : Technology หมายถึง ใช้เทคโนโลยี
U : Unity หมายถึง ใจรวมเป็นหนึ่ง
S : Success หมายถึง ได้ความสำเร็จ
|
วัฒนธรรมองค์กร
|
มุ่งมั่นทำงาน ประสานสัมพันธ์ สู่ความสำเร็จ
|
สมรรถนะหลัก
|
๑. ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร
๒. ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓. ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
๔. ความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษา
๕. ความสามารถในการประสานการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายทางการศึกษา
|
ตารางเปรียบเทียบการประกันคุณภาพภายในกับการประกันคุณภาพภายนอก
ประเด็น
|
สมศ.รอบสี่ (พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓)
|
ประกันคุณภาพภายใน
|
สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)
|
มฐ./ตช.
|
๓ มาตรฐาน ๒๑ ข้อย่อย
|
๓ มาตรฐาน ๒๑ ข้อย่อย
|
๓ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชี้วัด
|
ระดับคุณภาพ
/ระดับการประเมิน
|
๕ ระดับ ได้แก่ ดีเยี่ยม ดีมาก
ดี พอใช้ ปรับปรุง
|
๕ ระดับ ได้แก่ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ
ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา
|
๒ ระดับ ได้แก่
เป็นไปตามมาตรฐาน (๓-๕)
อยู่ระหว่างการพัฒนา (๑-๒)
|
ประกันคุณภาพภายใน
|
สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)
|
๓ มาตรฐาน ๒๑ ข้อย่อย
|
๓ มาตรฐาน ๑๖ ตัวชี้วัด
|
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน (๒ ข้อใหญ่ ๑๐ ข้อย่อย)
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
๑.๑.๑ มีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
๑.๑.๒ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปัญหา
๑.๑.๓ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๑.๑.๔ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๑.๑.๕ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๑.๑.๖ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดี
ต่องานอาชีพ
|
มาตรฐานที่ ๑ ผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (๓ ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสมรรถนะตามหลักสูตรสถานศึกษา
ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ผู้เรียนสามารถนำตนเองในการเรียนรู้
|
ประกันคุณภาพภายใน
|
สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)
|
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑.๒.๑ การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
๑.๒.๒ ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๑.๒.๓ การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๑.๒.๔ สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
|
ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา
|
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
(๖ ข้อย่อย)
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
|
มาตรฐานที่ ๒ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
สถานศึกษา (๑๐ ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ ๒.๑ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมของสถานศึกษา
ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์และแผนงานสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ
ตัวชี้วัดที่ ๒.๓ ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำทางวิชาการ และบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
|
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
|
ตัวชี้วัดที่ ๒.๔ แผนงานและการดำเนินงานด้านการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ ๒.๕ กระบวนการนิเทศการปฏิบัติงานของครู
และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ
|
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ
การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
|
ตัวชี้วัดที่ ๒.๗ การจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัดที่ ๒.๘ สวัสดิการ สวัสดิภาพ แนวทางการป้องกันโรค อุบัติภัย ภัยพิบัติ
ตัวชี้วัดที่ ๒.๙ ระบบและกระบวนการช่วยเหลือผู้เรียน
ตัวชี้วัดที่ ๒.๑๐ การเสริมสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง องค์กร และชุมชน เพื่อความร่วมมือในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน
|
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
|
ตัวชี้วัดที่ ๒.๖ การใช้สื่อ อุปกรณ์ ระบบเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษา
|
ประกันคุณภาพภายใน
|
สมศ. (พ.ศ.๒๕๖๗-๒๕๗๑)
|
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (๕ ข้อย่อย)
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ การเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
|
มาตรฐานที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ (๓ ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ การออกแบบหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เสริมสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัดที่ ๓.๒ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
|
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
|
ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ครูวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
|